Last update: 16.04.2009
การ ใช้เครื่องมือที่เป่าลมเข้าไปในทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้ทางเดินหายใจกว้างขึ้นหรือไม่อุดกั้นขณะนอนหลับ ที่เรียกว่า Continuous Positive Airway Pressure (CPAP) นั้นเหมาะสำหรับผู้ที่มีอาการนอนกรน (snoring) และภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (obstructive sleep apnea: OSA) ตั้งแต่ระดับน้อย ถึงรุนแรง ซึ่งปฏิเสธการรักษาด้วยเครื่องครอบฟัน (oral appliance) หรือ การผ่าตัด เครื่องมือนี้เป็นการนำหน้ากากครอบจมูกขณะนอนหลับ ซึ่งหน้ากากนี้จะต่อเข้ากับเครื่องที่สามารถขับลมซึ่งมีแรงดันเป็นบวกออกมา ลมที่ขับออกมาขณะนอนหลับจะช่วยค้ำยัน ไม่ให้ทางเดินหายใจเกิดการอุดกั้นขณะหายใจเข้า วิธีนี้เป็นการรักษาอาการนอนกรน และภาวะหยุดหายใจขณะหลับระดับปานกลางถึงรุนแรง (moderate to severe OSA) ที่ดีที่สุด ซึ่งควรพิจารณาลองใช้ในผู้ป่วยทุกราย ก่อนพิจารณาการผ่าตัดเสมอ
ผศ. นพ. ปารยะ อาศนะเสน
ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
การ ใช้เครื่องมือที่เป่าลมเข้าไปในทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้ทางเดินหายใจกว้างขึ้นหรือไม่อุดกั้นขณะนอนหลับ ที่เรียกว่า Continuous Positive Airway Pressure (CPAP) นั้นเหมาะสำหรับผู้ที่มีอาการนอนกรน (snoring) และภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (obstructive sleep apnea: OSA) ตั้งแต่ระดับน้อย ถึงรุนแรง ซึ่งปฏิเสธการรักษาด้วยเครื่องครอบฟัน (oral appliance) หรือ การผ่าตัด เครื่องมือนี้เป็นการนำหน้ากากครอบจมูกขณะนอนหลับ ซึ่งหน้ากากนี้จะต่อเข้ากับเครื่องที่สามารถขับลมซึ่งมีแรงดันเป็นบวกออกมา ลมที่ขับออกมาขณะนอนหลับจะช่วยค้ำยัน ไม่ให้ทางเดินหายใจเกิดการอุดกั้นขณะหายใจเข้า วิธีนี้เป็นการรักษาอาการนอนกรน และภาวะหยุดหายใจขณะหลับระดับปานกลางถึงรุนแรง (moderate to severe OSA) ที่ดีที่สุด ซึ่งควรพิจารณาลองใช้ในผู้ป่วยทุกราย ก่อนพิจารณาการผ่าตัดเสมอ
ปัญหา | วิธีแก้ไข |
---|---|
ทนระดับความดันไม่ได้
|
|
ลมรั่วจากหน้ากาก
|
|
รอยกดทับจากหน้ากาก หรือ ความรู้สึกแน่นจากการใส่หน้ากาก
|
|
อาการคัดแน่นจมูก
|
|
การกลัวที่แคบ
|
|
การนอนไม่หลับจากการใช้เครื่อง
|
|
ปากแห้ง
|
|
เครื่องหลุดโดยไม่ตั้งใจขณะหลับ
|
|